ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์ที่มีป้ายกำกับ การจัดการภาครัฐ

WEEK11 PART2 พื้นฐานคุณภาพการบริหารและการจัดการภาครัฐ PUBLIC SECTOR MANAGEMENT QUALITY AWARD : PMQA)

การจัดการ #การเปลี่ยนแปลง มิติด้าน #การบริหาร และการจัดการ #ภาครัฐ ขีดความสามารถขององค์การให้บรรลุความสำเร็จได้อย่างไร องค์การสามารถสร้างให้เกิดการปฏิบัติงานตามภารกิจ จะต้องมีการปฏิบัติงานตามภารกิจที่เพิ่มขี้นด้วย ไม่ใช่แค่ปฏิบัติงานภายใต้สถานการณ์ที่เป็นอยู่แล้วปฎิบัติแบบเดิม ภายใต้กฎระเบียบเดิม ไม่สามารถสร้างให้เกิดการแข่งขันให้เกิดการพัฒนาขององค์การได้ ถ้ายังมองในมุมเดิม ๆ ดังนั้น การมีรากฐานการบริหารองค์การที่มุ่งเน้นการแข่งขันเป็นสิ่งที่ดี โดย NIST มองว่าเป็นแนวทางที่จะสร้างให้เกิดการพัฒนา มีองค์ประกอบ 4 หลัก ทีจะสร้างให้เกิดการพัฒนาว่าด้วยกระบวนการของการวางแผน การที่จะใช้หลักของ Baldrige Excellence Framework ต้องพิจาณาว่า เรามีองค์ประกอบที่พร้อมแล้วหรือยัง 4 องค์ประกอบนี้มักไม่ถูกกล่าวถึง ส่วนใหญ่จะกล่าวถึงหลักของ PMQA หลักของ Baldrige Excellence Framework ว่าด้วย หมวด 1 ถึง หมวด 7 แต่ว่าองค์ประกอบที่ต้องพิจารณาก่อนจะก้าวสู่ Baldrige Excellence Framework ไม่ถูกกล่าวถึงมากนัก ดังนั้นในรายวิชาการจัดการการเปลี่ยนแปลง เมื่อเราจะใช้หลักของการบริหารที่มีการใช้ทฤษฎีใหม่ ๆ

(พื้นฐานคุณภาพการบริหารและการจัดการภาครัฐ PUBLIC SECTOR MANAGEMENT QUALITY AWARD : PMQA) MAHIDOL001 WEEK11 PART1

การจัดการ #การเปลี่ยนแปลง มิติด้าน #การบริหาร และการจัดการ #ภาครัฐ #WorkBabNee | #การทำงาน | #การบริหาร | #พัฒนาคน | #บริหารคน | #บริหารงาน | #ชีวิตที่ทำงาน | #JitFin ยินดีต้อนรับผู้เรียนเข้าสู่บทเรียนสุดท้ายของรายวิชาการจัดการการเปลี่ยนแปลงมิติการบริหารและการจัดการภาครัฐ บทเรียนนี้เราจะกล่าวถึงการประเมินความสำเร็จของงานบริการสาธารณะ จากที่เราทราบว่างานบริการสาธารณะบางงานอาจจะประสบความสำเร็จ งานบริการสาธารณะบางงานอาจจะไม่ประสบความสำเร็จ จะมีเทคนิคอะไรในการประเมิน เทปนี้อาจารย์จะกล่าวถึงหลัก PMQA ว่าคืออะไร เรามาพบกันในเทปสุดท้ายนี้ครับ นักศึกษาคงเคยได้ยินคำว่า PMQA: Public Sector Management Quality Award เป็นกระบวนการในการพิจารณาพิสูจน์ว่า กระบวนการบริการ กระบวนการจัดการในอดีตที่ผ่านมา (ในปีงบประมาณ) ประสบความสำเร็จมากน้อยเพียงใด การประกันคุณภาพ จะวัดได้จากกระบวนการ โดยที่กระบวนการประกันคุณภาพในลักษณะของเกณฑ์การประเมินตามหลัก PMQA มีด้วยกัน 7 องค์ประกอบ คือ ผู้นำ กลยุทธ์ ผู้รับบริการ ตัวชี้วัด (วัดกระบวนการที่ผ่านมาตั้งแต่อดีต) บุคลากร การจัดการ และสุดท้ายการรายงานผล จากพาว

(สมการการทำนายความสำเร็จของการบริการสาธารณะในอนาคต) MAHIDOL001 WEEK10 PART2

การจัดการ #การเปลี่ยนแปลง มิติด้าน #การบริหาร และการจัดการ #ภาครัฐ #WorkBabNee | #การทำงาน | #การบริหาร | #พัฒนาคน | #บริหารคน | #บริหารงาน | #ชีวิตที่ทำงาน | #JitFin  เมื่อเราทราบแล้วว่า ค่าร้อยละความเชื่อมั่นของประชาชนต่องานบริการสาธารณะในการดำเนินงานที่ผ่านมา โดยหาจากค่า reliability ซึ่งมาค่าตั้งแต่ 0-100 ว่าความเชื่อมั่นของภาคประชาชนมีกี่เปอร์เซ็นต์ นำมาแทนในสมการก็จะได้ค่า R เพื่อนำไปคำนวณในสมการของการทำนายความสำเร็จของงานบริการสาธารณะในอนาคตต่อไปได้ Ps ก่อนหน้านี้อาจารย์ได้แสดงในพาวเวอร์พอยท์ เราทราบแล้วว่าคะแนน Ps คือผลการคำนวณระดับคะแนนปัจจัยความพร้อมของผู้นำหรือผู้บริหารส่วนราชการ ที่มีระดับคะแนนตั้งแต่ 1-10 โดย Ps หามาได้จาก Score ที่ได้ที่มีค่าจาก 0-10 มาหารด้วย 100 แล้วคูณด้วย 5 ก็จะได้คะแนนออกมา เพื่อที่คะแนนต่าง ๆ ไปแทนค่าในสมการ Sp ต่อไปได้ อาจารย์ขอยกตัวอย่าง เช่น ค่าร้อยละความเชื่อมั่นของประชาชน ถ้าประชาชนมีความเชื่อมั่น 100 เปอร์เซ็นต์ นำ 100 หารด้วย 2 เท่ากับ 50 แล้วนำมาหารด้วย 10 เท่ากับ 5 ก็จะนำ 5 มาใส่ในสมการ Sp ในส่วนของค่า Ps ที่มองถึงผลของกา

(สมการการทำนายความสำเร็จของการบริการสาธารณะในอนาคต) MAHIDOL001 WEEK10 PART1

การจัดการ #การเปลี่ยนแปลง มิติด้าน #การบริหาร และการจัดการ #ภาครัฐ #WorkBabNee | #การทำงาน | #การบริหาร | #พัฒนาคน | #บริหารคน | #บริหารงาน | #ชีวิตที่ทำงาน | #JitFin   สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับเข้าสู่อีกหนึ่งบทเรียน ในรายวิชาการจัดการการเปลี่ยนแปลงมิติการบริหารและการจัดการภาครัฐ เป็นอีกหนึ่งบทเรียน ที่อาจารย์อยากให้ผู้สนใจที่จะศึกษาการจัดการการเปลี่ยนแปลง ได้เรียนรู้ในส่วนของ สมการทำนาย บทเรียนนี้จะกล่าวถึงสมการการทำนายความสำเร็จของงานบริการสาธารณะในอนาคต อาจารย์แสดงในพาวเวอร์พอยท์ครับ คือ สมการทำนายความสำเร็จของงานบริการสาธารณะในอนาคต เป็นสมการหนึ่งที่จะสามารถพิจารณา ตรวจสอบ กระบวนการในการปฏิบัติ จากข้อมูลในอดีตที่ผ่านมา เพื่อทำนายความสำเร็จในอนาคตว่าน่าจะมีความสำเร็จที่เท่าไร สมการแสดงดังภาพ.........คือคะแนนการทำนายความสำเร็จ คะแนนการทำนายความสำเร็จจากสมการนี้ อาจารย์แสดงให้เห็นในพาวเวอร์พอยท์ คะแนนการทำนายความสำเร็จของงานในอนาคต มีระดับคะแนนอยู่ด้วยกัน 5 ช่วง ตั้งแต่ 0-10 ดังภาพ....... โดยหวังว่าส่วนราชการทุกภาคส่วน เมื่อคำนวณภายใต้สมการนี้ ก็จะสามารถทำนายได้ว่

(กรอบการปฏิบัติเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง) MAHIDOL001 WEEK9 PART2

การจัดการ #การเปลี่ยนแปลง มิติด้าน #การบริหาร และการจัดการ #ภาครัฐ #WorkBabNee | #การทำงาน | #การบริหาร | #พัฒนาคน | #บริหารคน | #บริหารงาน | #ชีวิตที่ทำงาน | #JitFin  จากภาพเราจะเห็นเส้นต่าง ๆ เส้นที่หนึ่ง สถานการณ์ในการดำนเินงาน เพื่อนำมาพิจารณาสถานการณ์เศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน ว่ามีสถานการณ์อย่างไร แต่สุดท้ายแล้ว พื้นฐานก็มาจากงบประมาณ นำงบประมาณมาวิเคราะห์กับสภาพเศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน นี่คือ เส้นที่หนึ่งครับ เส้นสอง ระหว่างเศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน เราต้องดูความต้องการของสังคมด้วย ว่าความต้องการของสังคมในช่วงนั้น ต้องการอะไร เช่น ถ้าเศรษฐกิจฝืด สังคมในส่วนของภาคประชาชน ก็ต้องการการกระตุ้นเศรษฐกิจจากภาครัฐในส่วนงานทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็น กรมสรรพากร กรมศุลกากร หรือหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง กระทรวงพาณิชย์ ก็ต้องเข้ามาให้ความสำคัญในการกำหนดนโยบายที่ตอบโจทย์กับ needs ในส่วนของความต้องการของสังคมหรือภาคประชาชนท ี่มีความต้องการ เพราะว่าสภาพเศรษฐกิจที่ฝืดเคือง ลองดู ต้นกำเนิดของก้อนที่หนึ่ง องค์ประกอบของก้อนที่หนึ่งก็คืองบประมาณ งบประมาณการเงิน ถ้าเงินที่อยู่ในคลังมีไม่พอกับรายจ่ายย

(กรอบการปฏิบัติเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง) MAHIDOL001 WEEK9 PART1

การจัดการ #การเปลี่ยนแปลง มิติด้าน #การบริหาร และการจัดการ #ภาครัฐ #WorkBabNee | #การทำงาน | #การบริหาร | #พัฒนาคน | #บริหารคน | #บริหารงาน | #ชีวิตที่ทำงาน | #JitFin  วันนี้เราก้าวเข้าสู่อีกหนึ่งบทเรียน ที่ว่าด้วยการจัดการการเปลี่ยนแปลงการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ เพื่อไปสู่ความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ กระบวนการในการบริหาร อาจารย์เชื่อว่าหลาย ๆ ท่านน่าจะจำบทเรียนก่อนหน้านี้ได้ว่า กระบวนการในการบริหารก็ต้องมีการศึกษาในส่วนของนโยบาย ว่านโยบายต่าง ๆ เหล่านั้นมีที่มาที่ไปอย่างไร แต่สิ่งที่สำคัญก็คือ นโยายต่าง ๆ เหล่านั้นมีการถ่ายทอดเป็นลำดับชั้นอย่างไร และกระบวนการปฏิบัติภายใต้หลัก CIBCIO Model อย่างที่ได้กล่าวไว้ในบทเรียนก่อนหน้านี้ สำหรับบทเรียนนี้จะว่าด้วยการศึกษาการจัดการการเปลี่ยนแปลง ในมุมของการนำนโยบายสาธารณะไปสู่การปฏิบัติเพื่อความยั่งยืนทางด้านเศรษฐกิจ ดังนั้นการจัดการการเปลี่ยนแปลง ในด้านการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติเพื่อความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ แสดงว่าต้องมองถึงปัจจัยนำเข้า และบริบทความสำเร็จด้วย อาจารย์โชว์ให้เห็นในพาวเวอร์พอยทฺ์นี้ โดยพาวเวอร์พอยทฺนี้เป็นเฟรมเวิร์คสำคัญของ

(กรณีศึกษาการจัดการงานบริการสาธารณะในสาธารณรัฐสิงคโปร์) MAHIDOL001 WEEK8 PART3

การจัดการ #การเปลี่ยนแปลง มิติด้าน #การบริหาร และการจัดการ #ภาครัฐ #WorkBabNee | #การทำงาน | #การบริหาร | #พัฒนาคน | #บริหารคน | #บริหารงาน | #ชีวิตที่ทำงาน | #JitFin ในปีคริสตศักราชที่ 1975 มีการกำหนดเขตพื้นที่ตามใบอนุญาตโดยใช้ชื่อว่า Area Licensing Scheme: ALS โดยห้ามรถยนต์ที่ไม่มีใบอนุญาตนำรถยนต์เข้ามาในเขตเมือง โดยมีเจ้าหน้าที่คอยตรวจสอบ การตรวจสอบต่างๆเหล่านั้นจะใช้อยู่ในช่วงปี 1975 ถึงปี 1998 แต่พอเข้าสู่ปีคริสตศักราช 1998 ประเทศสิงคโปร์มองว่าการใช้คนในการจัดการอาจจะมีข้อจำกัด พอสมควรอาจจะมีการหลุดรอดในส่วนของการตรวจจับ หรือการสั่งห้ามที่เข้ามาในเขตพื้นที่เมืองได้ ดังนั้น ในปีคริสตศักราช 1998 ได้เปลี่ยนเป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์หรือเรียกว่ารัฐอิเล็กทรอนิกส์ที่ว่าด้วยการควบคุมอัตรารถยนต์ที่เข้ามา โดยใช้ชื่อมาตรการว่า Electronic Road Price: ERP อาจารย์แสดงให้เห็นในภาพ แสดงให้เห็นว่ารถยนต์ที่เข้ามาในย่านธุรกิจหรือเขตที่มีความหนาแน่นของของรถยนต์ในช่วงที่มีรถยนต์หนาแน่นมากๆ จะเสียค่าการใช้เส้นทางผ่านภายใต้ระบบ ERP นั่นเอง จากมาตรการดังกล่าวจะทำให้สังเกตได้ว่า มาตรการในประเทศสิงคโปร์จ